บทที่ 3 กระบวนการเขียนคำสั่งควบคุม-และการใช้งานอาร์เรย์

การควบคุมทิศทางการทำงานอ(Control Flow)
จากหัวข้อของบทความที่ผ่านมากล่าวถึงนิพจน์และการนำไปใช้งาน แต่เนื่องบางครั้งเราต้องการทางเลือกเพื่อให้โปรแกรมทำงานตามที่เราต้องการ ภาษาจาวาได้เตรียมวิธีการทีเรียกว่า คำสั่งควบคุมทิศทางของการทำงานของผลลัพธ์หรือนิพจน์ต่างๆ ซึ่งมีอยู่หลายลักษณะดังต่อไปนี้

คำสั่งควบคุมทิศทาง (Branch Control)
        >>คำสั่งสั่ง if-else
                                           

                                    รูปแบบ



        จากรูปแบบคำสั่งนี้จะแสดงให้เห็นว่า เราสามารถที่จะใช้คำสั่ง if เพื่อให้ทำงานหากเป็นจริงตามเงื่อนไข <Condition> ถ้ามีเงื่อนไขที่ตรวจพบว่าไม่จริงก็ตามเงื่อนไขหลัง else ดังไฟลว์ชาร์ต ให้เป็นสังเขป


         ตัวอย่างที่ 3.1



        ตัวอย่างที่ 3.2






             คำสั่งวนลูป (Looping)

               >> คำสั่ง
                                       รูปแบบ

                   หากต้องการใช้โปรแกรมทำงานซ้ำ จนกว่าจะออกจากเงื่อนไข คำสั่งวนลูปที่นิยมทั่วไปคือ while ซึ่งหลักการ คือ จะทำการวนลูปหากเงื่อนไขเป็นจริงและเมื่อเงื่อนไขเป็นจริงและเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จจะออกจากการวนลูปทันที ดังโฟล์ชาร์ตทำงานดังนี้





          ตัวอย่างที่ 3.4
         


  
  ผลการรันโปรแกรมตัวอย่างที่ 3.4

      >>คำสั่ง Do-while
            
       รูปแบบ



           คำสั่ง Do-while เป็นคำสั่งที่ยอมให้มีการทำงานก่อนที่จะมีการตรวจสอบเงื่อนไข ซึ่งจะพบว่าการทำงานในส่วนของ statement อย่างน้อย 1 ครั้ง เสมอ ซึ่งต่างจาก ไร้สาย ซึ่งมี การตรวจสอบก่อนเสมอ หากพบว่าเท็จตั้งแต่แรกดังโฟล์วชาร์ต 

               

     ตัวอย่างที่ 3.6


   ผลการรันโปรแกรมตัวอย่างที่ 3.6


คำสั่งข้ามการทำงาน (Jump Statement)
       คำสั่ง switch-case เราสามารถพบคำสั่ง bank ; ได้ เสมือนว่าหากการทำเงื่อนไขแล้วก็ออกจากคำสั่งนั้นเพื่อไปทำชุดคำสั่งอื่นโดยไม่ต้องรอ
รูปแบบ

ในส่วนของ [<label>}; คือ ป้ายที่เราวางไว้ว่าจะให้มาทำคำสั่งในบรรทัด

Continue
            คำสั่ง switch-case เราก็มีคำสั่ง continue; เราสามารถนำคำสั่งนี้มาใช้เพื่อทำงานถัดไปตามป้ายกำกับไว้ หรือหากไม่มีป้ายกำกับใดก็จะทำงานบรรทัดถัดไปทันที โดยการใช้รูปแบบคำสั่งตามรูปแบบดังนี้
รูปแบบ


Return
            ในบางกรณีอาจไม่มีการคืนค่ากลับไม่ต้องใช้คำสั่งนี้ นอกจากนี้ เรายังสามารถใช้คำสั่งนี้ในขั้นตอนใดๆ หากจำเป็นที่จะต้องส่งค่ากลับได้
รูปแบบ




ตัวอย่างที่ 3.7


ผลการรันโปรแกรมตัวอย่างที่ 3.7



อาร์เรย์ (Array)
       อาร์เรย์ (Array) คือ ตัวแปรที่มีโครงสร้างของข้อมูล ที่แทนกลุ่มข้อมูลโดยใช้ชื่อตัวแปรเดียว เนื่องจากว่าการเขียนโปรแกรม หากมีการตั้งชื่อตัวแปรหลายตัวอาจทำให้การทำงานของตัวแปรไม่มีความยืดหยุ่นพอและอาจทำให้สับสนได้ จึงมีการสร้างตัวแปรเพียงชื่อเดียวแต่อ้างอิงโดยการใช้ดัชนีกำกับไว้
การกำหนดและประกาศตัวแปรแบบอาร์เรย์
            การประกาศตัวแปรแบบอาร์เรย์ ในภาษาจาวาสามรถประกาศได้ในรูปแบบที่ค่อนข้างยืดหยุ่นแต่ที่สำคัญเราจะต้องประกาศให้ตรงตามรูปแบบที่ภาษาจาวารองรับ
การกำหนดตัวแทนของตัวแปรอาร์เรย์ (Instantiating Array)

            ตัวแปร X  เป็นตัวแปรอาร์เรย์ที่มีชนิดข้อมูลเป็นจำนวนเต็มและเมื่อต้องการเอาไปใช้ก็สามารถกำหนดค่าในภายหลังโดยกำหนดตัวแทน หรือ instance ของอาร์เรย์พร้อมกับขอบเขตของอาร์เรย์


                                    




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น